ไปตรวจฉี่ในป่าในเขา
ประเด็นที่ 1 ด่านตรวจฉี่ ตำรวจหรือเจ้าหน้าที่มีบัตร ปปส. หรือไม่ ? ที่ด่านมีสมุด ปส.1 ถึง ปส.3 หรือไม่ ? ถ้าไม่มี ตำรวจระวังมีความผิด “ พรบ. ประกอบรัฐธรรมนูญ ปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 171 ข้อหาไม่มีอำนาจ แต่แอบอ้างว่ามีอำนาจ ”
ประเด็นที่ 2 ในส่วนของคนไม่เคยเกี่ยวข้องกับยาเสพติด เมื่อตรวจแล้ว “ ไม่เจอสารเสพติด ” ตำรวจต้องปล่อยตัวเขาไปทันที
ประเด็นที่ 3 ด่านตรวจฉี่ มีการแสวงหาผลประโยชน์จากการตรวจฉี่หรือไม่ ? ถ้ามีการแสวงหาผลประโยชน์ดังกล่าว ตำรวจมีความผิด อาญา มาตรา 148 ข้อหาเจ้าพนักงานจูงใจให้ผู้อื่นมอบผลประโยชน์ , อาญา มาตรา 149 ข้อหาเจ้าพนักงานเรียกรับผลประโยชน์ , อาญา มาตรา 337 ข้อหากรรโชกทรัพย์ , อาญา มาตรา 338 ข้อหารีดเอาทรัพย์ , ผิด “ พรบ. ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 มาตรา 79 (1) ปฏิบัติ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยมิชอบ เพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นได้รับประโยชน์ที่มิควรได้ ” แค่ “ มิควรได้ ” ไม่จำเป็นต้องทุจริต ก็เป็นความผิดวินัยร้ายแรงแล้ว
ประเด็นที่ 4 ตรวจฉี่โดย มีเหตุอันควรสงสัยว่าเขาเสพยาหรือไม่ ? ถ้าการตรวจฉี่ ตรวจสอบ ตรวจค้น โดย “ ไม่มีเหตุอันควรสงสัย ” เป็นปฏิบัติโดยมิชอบ “ รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 มาตรา 28 ” ก็ชัดเจน ว่า “ การค้นตัวบุคคล หรือการกระทำใดอันกระทบกระเทือนต่อสิทธิหรือเสรีภาพในชีวิตหรือร่างกาย จะกระทำมิได้ เว้นแต่มีเหตุตามที่กฎหมายบัญญัติ ”
ประเด็นที่ 5 ถ้าตัวด่าน เป็นด่านไม่ถูกต้อง (ด่านลอย) ตำรวจจะไม่สามารถตั้งข้อหาขัดขวางเจ้าพนักงานได้ ไม่สามารถตั้งข้อหาใดๆกับใครได้ เพราะตัวด่านมันไม่ถูกต้องตั้งแต่แรก
ประเด็นที่ 6 ตำรวจพยายามยัดข้อหาอื่นๆ ทั้งๆที่เขาไม่ได้ไปทำอะไรผิด ตำรวจมีความผิด อาญา มาตรา 173 ข้อหามิได้มีการกระทำความผิดเกิดขึ้น แต่แอบอ้างว่ามีความผิด , ผิด “ พรบ. ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 มาตรา 79 (3) เหยียดหยาม กดขี่ ข่มเหง หรือทำร้ายประชาชน ผู้ติดต่อราชการ หรือในระหว่างปฏิบัติหน้าที่ราชการ ”
ประเด็นที่ 7 ตำรวจตรวจฉี่ได้เฉพาะรถบางประเภท เช่น “ รถสาธารณะ ” เท่านั้น ไม่ใช่รถส่วนบุคคล ตำรวจตรวจฉี่ได้เฉพาะโชเฟ่อร์หรือคนขับรถเท่านั้น ตำรวจไม่มีสิทธิ์ตรวจฉี่ผู้โดยสาร
ประเด็นที่ 8 “ รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 มาตรา 28 ” ก็ชัดเจน ว่า “ บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย การจับและการคุมขังบุคคล จะกระทำมิได้ เว้นแต่มีคำสั่ง หรือหมายของศาล หรือมีเหตุอย่างอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ ” อยู่ดีๆตำรวจก็ไปจับตัวเขา ทั้งๆที่เขาไม่ได้ไปทำอะไรผิด ตำรวจมีความผิด อาญา มาตรา 311 ข้อหากระทำโดยประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นถูกหน่วงเหนี่ยว ถูกกักขัง หรือต้องปราศจากเสรีภาพในร่างกาย
ตำรวจนิสัยดีๆ เราก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
ประเด็นที่ 1 ด่านตรวจฉี่ ตำรวจหรือเจ้าหน้าที่มีบัตร ปปส. หรือไม่ ? ที่ด่านมีสมุด ปส.1 ถึง ปส.3 หรือไม่ ? ถ้าไม่มี ตำรวจระวังมีความผิด “ พรบ. ประกอบรัฐธรรมนูญ ปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 มาตรา 171 ข้อหาไม่มีอำนาจ แต่แอบอ้างว่ามีอำนาจ ”
ประเด็นที่ 2 ในส่วนของคนไม่เคยเกี่ยวข้องกับยาเสพติด เมื่อตรวจแล้ว “ ไม่เจอสารเสพติด ” ตำรวจต้องปล่อยตัวเขาไปทันที
ประเด็นที่ 3 ด่านตรวจฉี่ มีการแสวงหาผลประโยชน์จากการตรวจฉี่หรือไม่ ? ถ้ามีการแสวงหาผลประโยชน์ดังกล่าว ตำรวจมีความผิด อาญา มาตรา 148 ข้อหาเจ้าพนักงานจูงใจให้ผู้อื่นมอบผลประโยชน์ , อาญา มาตรา 149 ข้อหาเจ้าพนักงานเรียกรับผลประโยชน์ , อาญา มาตรา 337 ข้อหากรรโชกทรัพย์ , อาญา มาตรา 338 ข้อหารีดเอาทรัพย์ , ผิด “ พรบ. ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 มาตรา 79 (1) ปฏิบัติ หรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยมิชอบ เพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นได้รับประโยชน์ที่มิควรได้ ” แค่ “ มิควรได้ ” ไม่จำเป็นต้องทุจริต ก็เป็นความผิดวินัยร้ายแรงแล้ว
ประเด็นที่ 4 ตรวจฉี่โดย มีเหตุอันควรสงสัยว่าเขาเสพยาหรือไม่ ? ถ้าการตรวจฉี่ ตรวจสอบ ตรวจค้น โดย “ ไม่มีเหตุอันควรสงสัย ” เป็นปฏิบัติโดยมิชอบ “ รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 มาตรา 28 ” ก็ชัดเจน ว่า “ การค้นตัวบุคคล หรือการกระทำใดอันกระทบกระเทือนต่อสิทธิหรือเสรีภาพในชีวิตหรือร่างกาย จะกระทำมิได้ เว้นแต่มีเหตุตามที่กฎหมายบัญญัติ ”
ประเด็นที่ 5 ถ้าตัวด่าน เป็นด่านไม่ถูกต้อง (ด่านลอย) ตำรวจจะไม่สามารถตั้งข้อหาขัดขวางเจ้าพนักงานได้ ไม่สามารถตั้งข้อหาใดๆกับใครได้ เพราะตัวด่านมันไม่ถูกต้องตั้งแต่แรก
ประเด็นที่ 6 ตำรวจพยายามยัดข้อหาอื่นๆ ทั้งๆที่เขาไม่ได้ไปทำอะไรผิด ตำรวจมีความผิด อาญา มาตรา 173 ข้อหามิได้มีการกระทำความผิดเกิดขึ้น แต่แอบอ้างว่ามีความผิด , ผิด “ พรบ. ตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 มาตรา 79 (3) เหยียดหยาม กดขี่ ข่มเหง หรือทำร้ายประชาชน ผู้ติดต่อราชการ หรือในระหว่างปฏิบัติหน้าที่ราชการ ”
ประเด็นที่ 7 ตำรวจตรวจฉี่ได้เฉพาะรถบางประเภท เช่น “ รถสาธารณะ ” เท่านั้น ไม่ใช่รถส่วนบุคคล ตำรวจตรวจฉี่ได้เฉพาะโชเฟ่อร์หรือคนขับรถเท่านั้น ตำรวจไม่มีสิทธิ์ตรวจฉี่ผู้โดยสาร
ประเด็นที่ 8 “ รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2560 มาตรา 28 ” ก็ชัดเจน ว่า “ บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย การจับและการคุมขังบุคคล จะกระทำมิได้ เว้นแต่มีคำสั่ง หรือหมายของศาล หรือมีเหตุอย่างอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ ” อยู่ดีๆตำรวจก็ไปจับตัวเขา ทั้งๆที่เขาไม่ได้ไปทำอะไรผิด ตำรวจมีความผิด อาญา มาตรา 311 ข้อหากระทำโดยประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นถูกหน่วงเหนี่ยว ถูกกักขัง หรือต้องปราศจากเสรีภาพในร่างกาย
ตำรวจนิสัยดีๆ เราก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น